กพร. เปิดตัว เทคโนโลยีการผลิตซีโอไลต์และยิปซัมจากแหล่งแร่ในประเทศ

Post Views: 1,005 กพร.เปิดผลสำเร็จการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตซีโอไลต์และยิปซัมคุณภาพสูงจากแหล่งแร่ศักยภาพภายในประเทศ พร้อมโชว์ ทรายแมวซีโอไลต์ จากแร่ดินขาว และยิปซัมเกรดอาหาร จากแร่ยิปซัมใช้ในการผลิตอาหารและสารตัวเติมในการผลิตเบียร์ นายเศรษฐรัชต์ เลือดสกุล รองอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพืนฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กล่าวภายหลังเป็นประธานเปิดงานสัมมนาฯ เรื่อง “เทคโนโลยีการผลิตซีโอไลต์และยิปซัมคุณภาพสูงจากแหล่งแร่ศักยภาพภายในประเทศ” ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่า ที่ผ่านมา กพร. ได้ดำเนินการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตเพื่อลดการสูญเสียแร่ เก็บกลับคืนวัตถุดิบแร่จากเศษแร่เหลือทิ้งและหางแร่จากการแต่งแร่ และพัฒนาแร่คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มมูลค่าแร่ ให้เกิดมูลค่าเพิ่มตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมแร่ ลดการนำเข้าวัตถุดิบคุณภาพสูงจากต่างประเทศ รองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและทิศทางการพัฒนาประเทศสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่ ผ่านการศึกษา วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีทั้งในระดับห้องปฏิบัติการ…

Read More

กพร. ปลื้ม โครงการ เหมืองแร่สร้างสุข บรรลุเป้า ลุยทดสอบตลาด ซีคอน บางแค

Post Views: 788 กพร. ปลื้มโครงการเหมืองแร่สร้างสุข ส่งเสริมอาชีพชุมชน บรรลุเป้าหมาย สร้างมูลค่าเศรษฐกิจให้กับประเทศไม่น้อยกว่า 46.2 ล้านบาท เตรียมจัดกิจกรรมทดสอบตลาด 3 – 7 พ.ค. 2566 ซีคอน บางแค กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ( กพร. )ร่วมกับ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสระบุรี และสถาบันอาหาร แถลงความสำเร็จโครงการเหมืองแร่สร้างสุข ส่งเสริมอาชีพชุมชน โดยนายนิรันดร์ ยิ่งมหิศรานนท์ อธิบดี กพร.กล่าวว่า…

Read More

กพร.เดินหน้า แก้ปัญหาปุ๋ยขาดแคลนและราคาแพง

Post Views: 811 กพร. จัดสัมมนาการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการแร่โพแทช พุ่งเป้าผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตแร่โพแทชของอาเซียน และแก้ปัญหาการขาดแคลนปุ๋ยรวมถึงปุ๋ยราคาแพง นายนิรันดร์ ยิ่งมหิศรานนท์ อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เปิดเผยภายหลัง เป็นประธานเปิดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการแร่โพแทช ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ฉบับที่ 2” และปาฐกถาพิเศษ ว่า แผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) มีการปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการแร่ให้สอดรับกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติยิ่งขึ้น และกำหนดนโยบายการบริหารจัดการแร่รายชนิด 4 ชนิด ที่มีความสำคัญและจำเป็นต่อการใช้ประโยชน์ภายในประเทศต่อเนื่องจากแผนแม่บทฯ ฉบับแรก…

Read More

Page 2 of 2

Login

Welcome! Login in to your account

Remember me Lost your password?

Lost Password